หลักสูตรฝึกอบรม การสร้างนวัตกรรมด้วยการคิดเชิงการออกแบบ - หลักสูตร 2 วัน
(Build Innovation with Design Thinking)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / ชุดเครื่องมือ (COURSE BY TOOLING PROGRAM) / หลักสูตรฝึกอบรม การสร้างนวัตกรรมด้วยการคิดเชิงการออกแบบ (Build Innovation with Design Thinking)

ติดต่อสอบถาม
  093-649-3561 / 091-770-3350 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและเหตุผล
การสร้างนวัตกรรม (Innovation) ให้สอดคล้องกับ Pain Pont ของลูกค้า จะทำให้ได้ Solution ที่ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา โดยการให้ความสำคัญที่ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง (Customer Centric) เพราะนวัตกรรมที่ดีนำไปสู่ความพึงพอใจของผู้บริโภคเป็นสำคัญ ไม่ใช่การประดิษฐ์จากมุมมองของผู้นำ
กระบวนการสร้างนวัตกรรมโดยการใช้หลักการคิดเชิงการออกแบบ (Design Thinking) จะทำให้ได้นวัตกรรมที่ผ่านกรอบความคิดที่ให้ความสำคัญ “ความรู้สึก (Feeling)” ของลูกค้าจริงๆ และเกิดการทำงานร่วมกันเป็นทีมอย่างเป็นระบบโดยมีขั้นตอนดังนี้

การสร้างความเข้าใจผู้บริโภค สามารถรวบรวมข้อมูลได้หลายระดับขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการทำ Empathize เพื่อนำไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆ


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อให้ผู้เรียนสร้างการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมที่เป็นเครื่องมือของ Design Thinking และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทันที
เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใจและเห็นกระบวนการทำ Design Thinking อย่างครบถ้วนด้วยตัวเองเกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง
เพื่อทำให้ผู้เรียนสร้างกรอบความคิดเชิงการออกแบบ (Design Thinking Mindset) เกิดเป็นแนวทางในการทำงานในรูปแบบใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา
เพื่อให้ผู้เรียนสนุกกับการเรียนรู้เชิงปฏิบัติด้วยตัวเองและการทำงานเป็นทีมร่วมกัน

รายละเอียดเนื้อหาของหลักสูตร (Course Outline)
Day I : การเรียนรู้และเข้าใจกระบวนการ Design Thinking
การสร้างกรอบความคิดเชิงการออกแบบ (Design Thinking Mindset)
         ความหมายของคำว่า “นวัตกรรม (Innovation)
         ความคิดสร้างสรรค์ V.S. นวัตกรรม
         ความคิดสร้างสรรค์ V.S. ความคิดนอกกรอบ
         ศัตรูที่สำคัญของการคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking)
         ความหมายของการคิดเชิงการออกแบบ (Design Thinking)
         Workshop : การสร้างกรอบความคิดด้วย Design Thinking
การสร้างกระบวนการคิดเชิงการออกแบบ (Design Thinking Process)
         หลักการสำคัญของ Design Thinking 5 ขั้นตอน
         ประเด็นสำคัญของการทำ Design Thinking ให้สำเร็จ
         เทคนิคการใช้ Design Thinking ให้เกิดประสิทธิผล
         เทคนิคการดำเนินการสร้างกลุ่มทำ Design Thinking
         กิจกรรมกลุ่ม : การเดินกระบวนการ Design Thinking
การเรียนรู้และพัฒนาทักษะการทำความเข้าใจผู้บริโภค (Empathize)
         ระดับของการทำความเข้าใจ (Empathize Level)
         วิธีการทำความเข้าใจ (How to Empathize)
         ทักษะการใช้คำถามสร้างความเข้าใจลูกค้า
         ทักษะการฟังเข้าใจความรู้สึกเชิงสึกของลูกค้า
         กิจกรรม : การทำ Empathy ผู้พูด
         กรณีศึกษา : การวิเคราะห์ Pain Point จากการทำ Empathy
การกำหนดความชัดเจนกับประเด็นสำคัญ (Define)
         สนุกกับการเรียนรู้คำสำคัญ (Keywords)
         หลักการสำคัญของการ Define Pain Pont ของ User
         กิจกรรม : การใช้ Empathy Map (Unpacking)
         กิจกรรม : การวิเคราะห์ POV (Point of View) ด้วยรูปภาพ
         Workshop : การกำหนด POV ของตัวเอง
         Workshop : การสร้าง POV Statement

Day II : การสร้าง Innovation ด้วย Design Thinking
การสร้างแนวความคิดต่างๆ (Ideate)
         การสร้างกรอบความคิดเชิงสร้างสรรค์ (Mindset)
         กระบวนการในการสร้างไอเดียใหม่ๆ (Process)
         กระบวนการ Design Thinking สู่ Ideation
         กิจกรรม : เครื่องมือสร้างไอเดียด้วย Yes!, And
         กิจกรรม : เครื่องมือสร้างไอเดียด้วย Reframe Constraint
การคัดเลือกแนวความคิดสู่นวัตกรรม (Innovation)
         หลักการคิดที่หลากหลายด้วยหมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats)
         การ์ด 1 ใบ ให้ความหมายได้หลากหลาย (Coaching Card)
         เทคนิคคิดไอเดียใหม่ๆ (Think Out the Box)
         กิจกรรม : เครื่องมือสร้างไอเดียด้วย Analogy Tool
         กิจกรรม : Mindful Selection Tool (QBD)
         Workshop : สรุปแนวความคิดที่จะนำไปทำ Prototype
การทำแบบจำลองเบื้องต้น (Prototype)
         หลักการสำคัญของการทำ Prototype
         วิธีการในการทำ Prototype 3 รูปแบบ
         จุดประสงค์สำคัญในการสร้าง Prototype
         กิจกรรม : ดำเนินการสร้าง Prototype ของตัวเอง
การนำไปทดสอบการใช้งานจริง (Test)
         เทคนิคการใช้ Prototype ทำ Testing
         สิ่งที่ควรปฏิบัติในการทำ Test (Do)
         การบันทึกข้อมูลป้อนกลับจากการ Test (User Feedback)
         กิจกรรม : ดำเนินการทดสอบ (Testing)
การบ้าน : เพื่อการนำไปฝึกฝนและปฏิบัติจริง

หลักสูตรนี้เหมาะกับ
พนักงานปฏิบัติการ
หัวหน้างาน
ผู้จัดการ
ผู้บริหาร

แนวทางการฝึกอบรมที่ใช้ในโปรแกรม

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม