หลักสูตรฝึกอบรม การสร้างผลงานนวัตกรรมเชิงปฏิบัติการ - หลักสูตร 3 วัน
(Create Innovation in Practise)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / ทักษะการคิดอย่างมีคุณภาพ (Thinking Skill) / หลักสูตรฝึกอบรม การสร้างผลงานนวัตกรรมเชิงปฏิบัติการ (Create Innovation in Practise)

ติดต่อสอบถาม
  093-649-3561 / 084-164-2057 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและเหตุผล
การสร้างผลงานนวัตกรรมด้วยการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เป็นกระบวนการครบวงจร ที่เริ่มต้นด้วยผู้ใช้ (User) และจบที่ผู้ใช้ (User) ทำให้นวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาได้รับการพิสูจน์จากผู้ใช้อย่างแท้จริงเปิดโอกาสให้นวัตกรรมเป็นที่ยอมรับและมีคุณค่าต่อผู้บริโภคอย่างแท้จริง

โปรแกรมการสร้างผลงานนวัตกรรมได้ออกแบบให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงในแต่ละขั้นตอนจนเกิดความเข้าใจอย่างแท้จริง สามารถสร้างผลงาน (Prototype) ของกลุ่มงานและเพิ่มเติมให้เป็นรูปแบบดิจิทัล พร้อมเทคนิคการนำเสนอในรูปแบบ Pitching รวมระยะเวลา 3 วันประกอบไปด้วย…..
    Section I : กระบวนการสร้างความเข้าใจผู้บริโภค (Empathize) เชิงปฏิบัติการ
    Section II : กำหนดประเด็นสำคัญ (Define) เชิงปฏิบัติการ
    Section III : การสร้างแนวความคิดที่มีคุณค่า (Ideate) เชิงปฏิบัติการ
    Section IV : การจัดทำแบบจำลองและการทดสอบ (Prototype & Test) เชิงปฏิบัติการ
    Section V : การสร้างนวัตกรรมดิจิทัล (Innovation Digital)
    Section VI : การนำเสนอผลงานในรูปแบบ Pitching

วัตถุประสงค์
 เพื่อทำให้ผู้เรียนได้เข้าใจกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) พร้อมฝึกปฏิบัติการกลุ่ม สร้างผลงานตามที่ต้องการได้
เพื่อทำให้ผู้เรียนมีแนวทางในการใช้เทคโนโลยีสร้างนวัตกรรมดิจิทัลในรูปแบบ Application ที่เหมาะสมของตัวเอง
เพื่อทำให้ผู้เรียนมีเทคนิคการนำเสนอในรูปแบบ Pitching ให้โดนใจ สามารถประยุกต์ใช้กับผลงานของตัวเองได้ทันที
เพื่อทำให้ผู้เรียนสนุกสนานกับการเรียนรู้แบบกลุ่ม ช่วยกันระดมความคิดเห็นและสร้างนวัตกรรมอย่างมีขั้นตอนจนเกิดผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
Session I : กระบวนการสร้างความเข้าใจผู้บริโภค (Empathize) เชิงปฏิบัติการ
      หัวใจสำคัญของกระบวนการ Design Thinking
          ความหมายของการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking)
          กระบวนการคิดเชิงออกแบบของ Stanford d.school
          ประเด็นสำคัญของการเข้าใจผู้บริโภค
          เทคนิคการสร้างความเข้าใจผู้บริโภค
          การสร้างกรอบความคิดที่ดี (Empathy Map)
          กิจกรรม : การสัมภาษณ์ผู้บริโภคกับความต้องการ
      การสร้างแผนที่ข้อมูลของผู้บริโภค (Empathy Map)
          การพัฒนาทักษะการเข้าใจผุ้บริโภค (Empathy Skill)
          ความหมายของแผนที่ผู้บริโภค (Empathy Map Conceptual)
          กระบวนการเรียนรู้และเข้าใจผู้บริโภค (Engagement Process)
          กิจกรรม : ระดมสมองสร้าง (Empathy Map)

Session II : กำหนดประเด็นสำคัญ (Define) เชิงปฏิบัติการ
      การกำหนดประเด็นสำคัญของความต้องการ
          สนุกกับคำสำคัญ (Keywords) สร้างการเรียนรู้
          ความแตกต่างของ Pain Point V.S. Gain Point
          ความหมายของ Point of View (POV)
          กิจกรรม : การนำเสนอ Point of View ของผู้บริโภค
      เทคนิคการใช้ Empathy Map สร้าง Point of View
          การถอดประเด็นข้อมูลของผู้บริโภค (Unpack from Empathy Map)
          กำหนดความชัดของข้อมูลผู้บริโภค (Identity)
          กิจกรรม : การดูรูปภาพ สร้างรูปประโยค
          กิจกรรม : การใช้ Empathy Map สร้าง POV Statement

Session III : การสร้างแนวความคิดที่มีคุณค่า (Ideate) เชิงปฏิบัติการ
    การสร้างแนวความคิดใหม่ๆ (Ideate)
          การสร้างทัศนคติ Yes! And….
          ไอเดียจากความคล้ายคลึง (Analogy Tool)
          ไอเดียจากข้อจำกัด (Constraint Tool)
          กิจกรรม : การใช้การ์ดรูปภาพ
          กิจกรรม : ดำเนินการสร้างไอเดียใหม่ๆ ด้วยเครื่องมือ
    เทคนิคการกรองไอเดียให้เป็น Solution
          กำหนดเกณฑ์ที่ใช้พิจารณา (Criteria)
          การกลั่นกรองอย่างมีคุณภาพ (Qualitative Screening)
          การคัดเลือกอย่างมีสติ (Mindful Selection)
          กิจกรรม : คัดเลือกแนวความคิดที่ดีที่สุด

 Session IV : การจัดทำแบบจำลองและการทดสอบ (Prototype & Test) เชิงปฏิบัติการ
      การออกแบบจำลองเบื้องต้น (Prototype)
          หลักการพัฒนาต้นแบบจำลอง (Prototype)
          คุณลักษณะของต้นแบบที่ดี (3E)
          แนวทางการทำแบบจำลอง (Methodology)
          กิจกรรม : การออกแบบ Prototype 
      กระบวนการทดสอบความคิดเห็นผู้บริโภค (Test)
          เทคนิคการนำเสนอแบบจำลองที่ดี
          ประเมินผลตอบรับด้วย Feedback Map
          เทคนิคการทดสอบผู้บริโภคอย่างมีมาตรฐาน
          กิจกรรม : สร้างเวทีการทดสอบและรับข้อมูลป้อนกลับ

Session V : การสร้างนวัตกรรมดิจิทัล (Innovation Digital)
      การสร้างกรอบความคิดแบบดิจิทัล (Digital Mindset)
          การเรียนรู้และสนุกกับ "คำสำคัญ (Keywords)"
          ความหมายของ Digital Transformation ในองค์กร
          การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง Application ในการทำงาน
          กรณีศึกษา : องค์กรที่ใช้ข้อมูลในการดำเนินธุรกิจ
      การสร้างกลยุทธ์นวัตกรรมดิจิทัลในองค์กร (Digital Innovation Strategy)
          การสร้างกลยุทธ์การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing)
          การสร้างกระบวนการเพิ่มประสิทธิภาพด้วยดิจิทัล (Digital Innovation Process)
          การสร้างรูปแบบธุรกิจใหม่ด้วยดิจิทัล (Digital Platform)
          กิจกรรม : สร้าง Prototype ด้วยเทคโนโลยี

Session VI : การนำเสนอผลงานในรูปแบบ Pitching
      เทคนิคการนำเสนอในรูปแบบ Pitching
          ความหมายของการนำเสนอรูปแบบ Pitching
          ประเภทของการ Pitching ในรูปแบบต่างๆ
          ประเด็นสำคัญที่ควรมีในการ Pitching
          กิจกรรม : การ Role Playing เทคนิคการ Pitching
      เทคนิคการสร้างเรื่องเล่าประกอบการ Pitching
          ความหมายของการเล่าเรื่อง (Storytelling) ที่ดี
          คุณลักษณะของ Storytelling แต่ละประเภท
          รายละเอียดที่ควรมีในการออกแบบเรื่องเล่า
          กิจกรรม : การออกแบบเรื่องเล่าของตัวเอง (Canvas)
          กิจกรรม : การนำเสนอเรื่องเล่า (Storytelling)

กรอบความคิดหลักสูตร (Course Framework)


แนวทางในการฝึกอบรม

ผู้ที่เหมาะสมกับหลักสูตรนี้
 พนักงานปฏิบัติการ
 หัวหน้างาน
 ผู้จัดการ
 ผู้บริหาร

6 องค์ประกอบที่ใช้ในการฝึกอบรม   รับชม

VDO Online

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

Group Coaching & Clinic

กระบวนการทำ Group Coaching / Show & Share

1 on 1 Coaching & Mentor

กระบวนการโค้ช (Coaching) ที่ประเด็นสำคัญของบุคคล

Project Presentation

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

Follow Up

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม