หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / Advance Management and Productivity / หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างมีประสิทธิผล (Effective Feedback Technique)
สอนโดยวิทยากรที่ได้การรับรองจากสถาบัน
ติดต่อสอบถาม
093-649-3561 / 084-164-2057 (HOTLINE)
asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com
หลักการและเหตุผล การประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Appraisal) ต้องมีการให้ข้อมูลป้อนกลับเชิงสร้างสรรค์ (Positive Feedback) เพื่อทำให้ทีมงานมีการพัฒนาที่เพิ่มขึ้นต่อไป ดังนั้นเทคนิคการให้ข้อมูลป้อนกลับ จึงมีความสำคัญเป็นอย่างมากที่ผู้จัดการ/หัวหน้าต้องพัฒนาตัวเองให้มีทักษะที่ดีเกี่ยวกับการให้ข้อมูลป้อนกลับกับทีมงาน
ทักษะที่สำคัญของการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback Skill) เป็นเรื่องที่ต้องฝึกฝนจนเกิดเป็นธรรมชาติ จึงจะสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิผล เช่น...
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี (Build Rapport)
การรับฟังเชิงรุก (Active Listening)
การสื่อสารสร้างสัมพันธ์ (Communication & Connection)
การใช้คำถามสร้างความชัดเจน (Clearing Question)
การให้คำแนะนำเชิงสร้างสรรค์ (Positive Suggestion)
การประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์ต่างๆ ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในการทำงาน เพื่อทำให้ทีมงานได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง มีขวัญกำลังใจในการทำงาน และสามารถพัฒนาตัวเองเพิ่มเติมได้ เช่น...
การประเมินประจำปี ครึ่งปี ไตรมาส สัปดาห์ เป็นต้น
การสอนแนะในพื้นที่ทำงานปกติ
การเสริมแนวความคิดเพิ่มเติมในที่ประชุม
การสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้อื่น
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการ แนวทางและเทคนิคของการให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างครบถ้วน และสามารถประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงของผู้เรียนได้ทันที
เพื่อทำให้ผู้เรียนเกิดความมั่นใจในการใช้ทักษะต่างๆ ของการให้ข้อมูลป้อนกลับที่ดีกับทีมงานและสามารถจูงใจให้ทีมงาน พัฒนาตัวเองเพิ่มขึ้นต่อไป
เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้เทคนิคต่างๆ ได้ด้วยตัวเองตาม Style ของตัวเองผ่านกิจกรรมต่างๆ อย่างแม่นยำ
เพื่อให้ผู้เรียนสร้างเทคนิคและกระบวนการให้ข้อมูลป้อนกลับที่ดีได้ด้วยตัวเอง เพื่อให้สามารถนำไปฝึกฝนต่อไปจนกลายเป็นธรรมชาติของผู้เรียนเอง
รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
DAY I : หลักการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback) อย่างมีประสิทธิผล องค์ประกอบที่สำคัญของการให้ข้อมูลป้อนกลับที่ดี
สำรวจแนวความคิดเรื่องการให้ข้อมูลป้อนกลับ
องค์ประกอบสำคัญของการสื่อสารทั่วไป
พลังของจิตใต้สำนึกสะท้อนพฤติกรรม
การทำงานของสมองส่วนของความคิด (PFC)
NLP Communication Model
Workshop : สรุปแนวความคิดของหลักการต่างๆ
หลักการที่สำคัญของการให้ข้อมูลป้อนกลับที่ดี
แลกเปลี่ยนประสบการณ์การติ-ชมที่ผ่านมา
การให้ข้อมูลป้อนกลับที่ดี (DO)
การให้ข้อมูลป้อนกลับที่ไม่ควรทำ (Don’t)
หลุมพรางทางความคิดเชิงลบในการให้ข้อมูลป้อนกลับ
เทคนิคการเอาชนะหลุมพรางทางความคิดของตัวเอง
Workshop : ค้นหาหลุมพรางและเทคนิคของตัวเอง
ทักษะที่สำคัญในการให้ข้อมูลป้อนกลับ (Feedback Skill)
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี (Build Rapport)
การรับฟังเชิงรุก (Active Listening)
การสื่อสารและการเชื่อมต่อที่ดี (Communication & Connection)
การใช้คำถามเพื่อสร้างความชัดเจน (Clearing Question)
การให้คำแนะนำเชิงสร้างสรรค์ (Positive Suggestion)
กิจกรรมย่อยต่างๆ : การฝึกฝนทักษะต่างๆ ด้วยตัวเอง
การปฏิบัติกับผู้ที่ต้องการให้ข้อมูลป้อนกลับที่ดี
การเรียนรู้ธรรมชาติของมนุษย์
ระดับความเข้มของการให้ข้อมูลป้อนกลับ
เทคนิคการจูงใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ความคิดที่ขัดแย้งระหว่างการติ-ชม
Workshop : การสร้างแนวทางการติ-ชม ผลงานเชิงสร้างสรรค์
DAY II : การประยุกต์การให้ข้อมูลป้อนกลับด้วยศาสตร์ต่างๆ เทคนิคการรับฟังด้วยศาสตร์ต่างๆ
การรับฟังเชิงรุก เข้าถึงความคิด (Brain Base)
การรับฟังเชิงรุก เข้าถึงจิตใจ (Life)
การรับฟังเชิงรุก เข้าถึงข้อจำกัด (NLP)
การรับฟังเชิงรุก เข้าสู่สมดุล (Mindful)
กิจกรรมย่อย : การรับฟังด้วยศาสตร์ต่างๆ ด้วยตัวเอง
เทคนิคการจับประเด็นสำคัญในแต่ละบทบาท
การจับประเด็นในฐานะหัวหน้างาน (Supervisor)
การจับประเด็นในฐานะพี่เลี้ยง (Mentor)
การจับประเด็นในฐานะโค้ช (Coach)
การจับประเด็นในฐานะที่ปรึกษา (Counselor)
กิจกรรมย่อย : การจับประเด็นสำคัญในแต่ละบทบาท
กรณีศึกษา : การติ-ชม ผลการทำงานอย่างสร้างสรรค์
เทคนิคการใช้คำถามเพื่อให้ Feedback ประเภทต่างๆ
การใช้คำถามแบบท้าทาย (Challenging Questions)
การใช้คำถามแบบเฉียบคม (Laser Questions)
การใช้คำถามเพื่อความกระจ่าง (Clarifying Questions)
การใช้คำถามเสนอข้อคิด (Insightful Questions)
การใช้คำถามกระตุ้นความรับผิดชอบ (Commitment Questions)
กิจกรรมย่อย : การใช้คำถาม Feedback ประเภทต่างๆ ด้วยตัวเอง
การประยุกต์ใช้กับเหตุการณ์ต่างๆ กับสถานการณ์จริง
การดำเนินการในการประเมินผลการปฏิบัติงาน (Performance Evaluation)
การให้ข้อมูลป้อนกลับ ณ พื้นที่ทำงาน (On Job Feedback)
การเสนอความคิดเห็นในที่ประชุม (Feed forward Idea)
การสร้างความเชื่อมั่นให้ผู้อื่น (Feed Forward Motivation)
การบ้านเพื่อการนำไปฝึกฝนและปฏิบัติจริง
กรอบความคิดหลักสูตร (Course Framework)
ผู้ที่เหมาะสมกับหลักสูตรนี้ พนักงานระดับปฏิบัติการ
หัวหน้างาน
ผู้จัดการ
การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)
การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning
กระบวนการทำ Group Coaching / Show & Share
กระบวนการโค้ช (Coaching) ที่ประเด็นสำคัญของบุคคล
การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง
การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม
Executive Coach Leadership and Strategic Development Consultant
Strategic and Management Coaching & Consulting / Professional Trainer
กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
NLP โค้ช และ เทรนเนอร์
Coach , ที่ปรึกษา และ วิทยากร ประจำสถาบัน เอ็นเทรนนิ่ง กลุ่มธุรกิจการฝึกอบรมและที่ปรึกษา
Facilitative Coach
วิทยากรสถาบันฝึกอบรมเอ็นเทรนนิ่ง
Powerful Game Coaching Process
ผู้เชี่ยวชาญด้าน จิตวิทยาการพัฒนาศักยภาพมนุษย์และองค์กร
วิทยากรอิสระ ด้านการพัฒนาองค์การ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาผู้นำ