หลักสูตรฝึกอบรม การจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเชิงปฏิบัติการ - หลักสูตร 2 วัน
(Knowledge Management System in Practices)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / Mini Practices / หลักสูตรฝึกอบรม การจัดการความรู้อย่างเป็นระบบเชิงปฏิบัติการ (Knowledge Management System in Practices)

ติดต่อสอบถาม
  084-164-2057 / 093-649-3561 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและเหตุผล
 การจัดการความรู้ในองค์กรอย่างเป็นระบบ (Knowledge Management System) ช่วยทำให้ความรู้ด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในองค์กร และการนำความรู้จากภายนอกองค์กรมาบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้ความรู้ต่างๆ ได้สอดคล้องเหมาะสมกับที่ต้องการได้ทันท่วงที
หลักพื้นฐานของการจัดการความรู้ (KM) ในองค์กร ประกอบไปด้วย….
     - การเรียนรู้และเข้าใจการจัดการความรู้ (KM : Knowledge Management)
     - การสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO : Learning Organization)
     - การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ (CoP : Community of Practices)
     - การพัฒนาบทบาทผู้เอื้ออำนวยการเรียนรู้ (KM Facilitator)
     - การสร้างรูปแบบการการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ (Learning Model)
การจัดการความรู้ในองค์กรเชิงนวัตกรรมด้วยรูปแบบ Digital จะทำให้การบริหารจัดการความรู้เกิดความสะดวกในการใช้งาน และง่ายต่อการสร้างและจัดการความรู้ในปัจจุบัน


วัตถุประสงค์
เพื่อทำให้ผู้เรียนได้แนวทางจัดการความรู้พื้นฐานในองค์กรและสามารถนำไปประยุกต์ใช้กับความต้องการของตัวเองได้ทันที
เพื่อทำให้ผู้เรียนมีรูปแบบในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ (LO) ในการนำไปใช้จัดการความรู้ให้เกิดประโยชน์ภายในทีม
เพื่อทำให้ผู้เรียนเข้าใจบทบาทของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้และช่วยกันดำเนินการให้เกิดระบบความรู้ขึ้นในองค์กร
เพื่อทำให้ผู้เรียนสามารถสร้างรูปแบบการเรียนรู้ได้อย่างหลากหลาย สามารถเลือกใช้ในการจัดการความรู้ของตัวเองได้อย่างเหมาะสม

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
DAY I: หลักการพื้นฐานในการจัดการความรู้ในองค์กร

หลักการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
      สนุกกับคำสำคัญ (Keywords) สร้างแนวความคิด
      กรอบความคิดของการพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้
      ความหมายของการจัดการความรู้ (Knowledge Management)
      คุณลักษณะขององค์กรแห่งการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล
      หลักการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
      Workshop: การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ร่วมกัน
กลยุทธ์การจัดการความรู้ในองค์กรอย่างเป็นระบบ (KM Strategy)
      ระดับความสำคัญของความรู้ (level of Knowledge)
      เทคนิคการจัดการ Implicit Knowledge ให้เป็น Explicit Knowledge
      กระบวนการจัดการความรู้อย่างเป็นระบบ (KM Process)
      กลยุทธ์การสร้างกิจกรรมสร้างสรรค์ความรู้รูปแบบต่างๆ
      กิจกรรม : การจัดการความรู้ในองค์กร (KM)
การพัฒนาบทบาทผู้เอื้ออำนวยการเรียนรู้ (KM Facilitator)
      การสร้างกรอบความคิดผู้เอื้ออำนวยการเรียนรู้ (Facilitator Mindset)
      ทักษะของการเป็นผู้เอื้ออำนวยการเรียนรู้ (Facilitator Skill)
      การออกแบบกระบวนการกลุ่มการเรียนรู้ (Facilitation)
      เครื่องมือประกอบการดำเนินการกลุ่มการเรียนรู้ (Tools)
      กิจกรรม : ดำเนินการสร้างกลุ่มการเรียนรู้ร่วมกัน
การสร้างชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice : CoP)
      ความหมายของชุมชนนักปฏิบัติ (Cop)
      จุดประสงค์ของการจัดทำ KM ด้วย CoP
      ประเภทของชุมชนนักปฏิบัติในรูปแบบต่างๆ
      ปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ CoP มีประสิทธิผล
      Workshop: การออกแบบชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ของตัวเอง

DAY II: การจัดการความรู้และนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
การสร้างกรอบความคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Peter Senge)
      การคิดเชิงระบบมองเห็นผลกระทบ (Systematic Thinking)
      ความเป็นเลิศส่วนบุคคล (Personal Mastery)
      การเข้าใจรูปแบบทางความคิด (Montal Model)
      การแบ่งปันวิสัยทัศน์ร่วมกัน (Share Vision)
      การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)
      กิจกรรม : สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ในองค์กร
การพัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้เชิงดิจิทัล
      ความหมายของปฏิรูปดิจิทัล (Digital Transformation)
      หลุมพรางทางความคิดเกี่ยวกับการทำ Digital Transformation
      คุณลักษณะขององค์กรที่ทำ Digital Transformation สำเร็จ
      สร้างระบบนิเวศการมีส่วนร่วมของธุรกิจ (Collaborative Ecosystem)
      กิจกรรม : การพัฒนาองค์กรดิจิทัล (Digital Organization)
การสร้างรูปแบบการเรียนรู้ด้วย Learning Model แบบต่างๆ
      การจัดทำวีดีโอออนไลน์ (Micro Learning)
      การสอนงานและการฝึกอบรม (Training & Coaching)
      การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย (Group Coaching / Clinic)
      การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor
      การนำเสนอและการรับข้อมูลป้อนกลับ (Show & Share)
      กิจกรรม: การออกแบบรูปแบบการเรียนรู้ในทีม
การจัดการความรู้เชิงนวัตกรรม (Innovation KM)
      การสำรวจและเปิดรับความคิดเห็นของผู้ใช้ (Empathize User)
      การกำหนดรูปแบบการจัดการความรู้ (Define Requirement)
      การดำเนินการจัดทำระบบจัดการความรู้ (Implementation)
      การเปิดใช้และทดสอบระบบการทำงาน (Prototype & Test)
      กิจกรรม: สร้างกระบวนการจัดการความรู้เชิงนวัตกรรม
การบ้าน : เพื่อการนำไปฝึกฝนและปฏิบัติจริง

ผู้ที่เหมาะสมกับหลักสูตรนี้
 พนักงานปฏิบัติการ
หัวหน้างาน
ผู้จัดการ
ผู้บริหาร

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม