หลักสูตรฝึกอบรม การบริหารกลยุทธ์และการวัดประเมินผลการดำเนินงาน ด้วยกรอบหลักการการวัดผลแบบสมดุล - หลักสูตร 1 วัน
(Balanced Scorecard)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม การบริหารกลยุทธ์และการวัดประเมินผลการดำเนินงาน ด้วยกรอบหลักการการวัดผลแบบสมดุล (Balanced Scorecard)

ติดต่อสอบถาม
  084-164-2057 / 093-649-3561 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

วัตถุประสงค์
 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการระบบการบริหารจัดการ ผลการดำเนินงานสมัยใหม่ที่สอดคล้องกับกลยุทธ์ขององค์กร และเข้าใจเทคนิคขั้นตอนในการออกแบบจัดทำตัวชี้วัดผลการดำเนินงานแบบสมดุลอย่างเป็นระบบ 
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำหลักการ Balanced Scorecardไปประยุกต์ใช้สำหรับองค์กรของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสบผลสำเร็จในการใช้ติดตาม และขับเคลื่อนแผนกลยุทธ์ การถ่ายทอดกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติและการดำเนินงานตามภารกิจของฝ่ายงานต่างๆ 
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้มีโอกาสฝึกทักษะผ่านกรณีศึกษาและตัวอย่างการออกแบบจัดทำแผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) ขององค์กรและตัวชี้วัดแบบสมดุล ตามกรอบแนวคิด Balanced Scorecard 
เพื่อให้กรอบแนวทางสำหรับการขยายผล Balanced Scorecardไปสู่การจัดทำตัวชี้วัดผลการดำเนินงานระดับฝ่ายงาน (Functional KPIs) และระดับบุคคลหรือ Personal KPIs ที่สามารถประเมินผลได้อย่างเป็นธรรมและสะท้อนผลการปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างแม่นยำ ถูกต้องตามความเป็นจริง

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
Introduction to Performance Management and Balanced Scorecard Framework
กรอบแนวคิดของระบบการบริหารผลการดำเนินงานสมัยใหม่ 
       ความสำคัญของการประเมินผลการดำเนินงานต่อความสำเร็จขององค์กร
       จุดอ่อนของการวัดและประเมินผลที่องค์กรมักนำไปใช้อย่างผิดๆ 
       ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการประเมินผลการดำเนินงานและตัวชี้วัดผลการดำเนินงานแบบ Balanced Scorecard 
       การออกแบบตัวชี้วัดผลการดำเนินงานที่ถูกต้องและเป็นระบบ 
       ก่อนจะเป็น Balanced Scorecard สิ่งสำคัญที่ต้องสร้างขึ้นมาก่อน
       วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์องค์กร 
       การกำหนดกลยุทธ์การแข่งขันสำหรับองค์กร(Competitive Strategies)
       การตีความกลยุทธ์การแข่งขันในรูปแบบต่างๆ สู่การกำหนดยุทธวิธี (Tactic) ที่เป็นรูปธรรมเชิงปฏิบัติ Workshop การทบทวนออกแบบวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์องค์กร 
       สมดุลในความหมายของ Balanced Scorecard หมายถึง สมดุลอย่างไร? 
       การออกแบบกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายเชิงกลยุทธ์ (Strategic Objectives)
      แนวคิดเกี่ยวกับคุณค่าและตัวขับเคลื่อนคุณค่า (Value and Value Driver) 
       มุมมองเชิงกลไกต้นเหตุและผลกระทบ (Cause and Effect) แบบ Balanced Scorecard 


Essential of KPIs Design with Balanced Scorecard Framework
จากกลยุทธ์สู่ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของฝ่ายงานแบบ Balanced Scorecard
       แผนที่กลยุทธ์ (Strategy Map) หมายถึงอะไร? - การถ่ายทอดกลยุทธ์สู่การปฏิบัติด้วยแผนที่กลยุทธ์แบบ Balanced Scorecard Workshop การออกแบบแผนที่กลยุทธ์ขององค์กรแบบ Balanced Scorecard 
       การกำหนดแผนงานริเริ่มเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ในด้านต่างๆ และการวัดผลสัมฤทธิ์และเป้าหมายของแผนงานริเริ่มต่างๆด้วย O-M-T-I
      การเชื่อมโยงและกระจายกลยุทธ์สู่ฝ่ายงานเพื่อกำหนดตัวชี้วัดเชิงกลยุทธ์ระดับฝ่ายงาน 
       ทำไมการนำ Balanced Scorecard มาใช้ในองค์กรจึงไม่ค่อยได้ผลอย่างที่คาดหวังไว้?
       การถ่ายทอดกลยุทธ์สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมด้วยเทคนิค Hoshin Kanri Workshop การถ่ายทอดกลยุทธ์สู่ฝ่ายงานด้วยเทคนิค O-M-T-I และ Hoshin Kanri 

คุณสมบัติของตัวชี้วัดที่ดีและการกำหนดเป้าหมายของตัวชี้วัด 
การจัดทำข้อมูลกำกับตัวชี้วัด (KPIs Dictionary)
การต่อยอด Balanced Scorecard สำหรับการจัดทำตัวชี้วัดผลการดำเนินงานระดับบุคคล

      โครงสร้างของตัวชี้วัดระดับบุคคล
       การใช้ประโยชน์ตัวชี้วัดระดับบุคคลในการบริหารจัดการและพัฒนาทรัพยากรบุคคล

แลกเปลี่ยนความคิดเห็น สรุปและถามตอบ

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม