หลักสูตรฝึกอบรม การสร้างกลุ่มคุณภาพ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน - หลักสูตร 1 วัน
((The process of creating quality for sustainable development))

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม การสร้างกลุ่มคุณภาพ เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ((The process of creating quality for sustainable development))

ติดต่อสอบถาม
  093-649-3561 / 084-164-2057 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและเหตุผล
   กิจกรรม QCC เป็นเครื่องมือหรือกิจกรรมมีส่วนร่วมประเภทกลุ่มคนที่อยู่ภายในพื้นที่งานเดียวกัน โดยใช้การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม (Participative Management) ตามบทบาทภาระหน้าที่ ภายใต้แนวคิดที่กล่าวว่า“ปัญหาเกิดขึ้นที่คนกลุ่มใด คนกลุ่มนั้นต้องเป็นผู้แก้ไขปัญหา” การสร้างกลุ่มQCC มีหลากหลายแนวทาง แต่ที่สำคัญคือต้องมีความสอดคล้องกับบริบทและวัฒนธรรมขององค์กร เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการนำมาใช้งาน ด้วยการนำแนวทางของการปฏิบัติงานมาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องด้วยหลัก QCC ภายใต้หลักการTotal Quality Management ของJSA & QCC by JUSE
   หลักสูตรนี้ออกแบบให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำWorkshopสู่การปฏิบัติงาน (implementation) ภายหลังการอนุมัติตามระบบเอกสารในฐานะเอกสารสนับสนุน (supported document) ตามมาตรฐานต่างๆที่องค์กรได้รับการรับรองเพื่อให้เกิดความยั่งยืน
 
วัตถุประสงค์
เพื่อให้พนักงานรู้บทบาทและหน้าที่เมื่อต้องจัดทำกิจกรรม QCC 
เพื่อให้พนักงานเข้าใจถึงขั้นตอนและการปรับใช้ในฐานะสมาชิกเมื่อต้องทำกิจกรรม QCC อย่างเหมาะสมกับบริบทและวัฒนาธรรมของจุดปฏิบัติงาน 
 เพื่อให้พนักงานรู้แนวทางในการนำเครื่องมือทั้ง 7 อย่างไปปรับใช้ในแต่ละขั้นตอนของกิจกรรม QCC 
เพื่อให้พนักงานเข้าใจและสามารถเลือกใช้เครื่องมือทางสถิติ 7 อย่างของ QC เมื่อต้องจัดทำกิจกรรม QCC 
เพื่อให้พนักงานทราบถึงแนวทางในการเขียนมาตรฐานการทำงาน(Standardization) 
เพื่อเป็นพื้นฐานของพนักงานในการจัดทำกิจกรรมการปรับปรุง และพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องด้วยหลักQCCภายใต้หลักTotal Quality Management


รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
การทดสอบก่อนการอบรม&โครงสร้างหลักสูตร
กลุ่ม QCC ให้อะไรกับเราและองค์กร 
ภาพรวมของขั้นตอนและวิธีการดำเนินกิจกรรม QCC 
ภาระงานของกรรมการกลุ่ม QCCตามตำแหน่ง 
      Work shop 1 การจัดตั้งกลุ่มกิจกรรม QCC 
กระบวนการค้นหาปัญหาทำอย่างไร 
การใช้เครื่องมือ 7 QC Tools เพื่อค้นหาปัญหา 
      Work shop 2 การค้นหาปัญหาด้วยเครื่องมือ 7 QC Tools 
      Work shop 3 วิเคราะห์สถานภาพปัจจุบัน 
กระบวนการค้นหาข้อมูลและสาเหตุเพื่อการแก้ไขปัญหา 
      Work shop 4 การเขียนCause-Effect Diagrams ของปัญหาหรือต้นไม้ปัญหา(tree problems) 
      Work shop 5 เขียนกระบวนการแก้ไขปัญหา 
PDCA ใช้อย่างไรและมีขั้นตอนอะไรบ้าง 
หลักการวางแผน (Plan)ด้วยPDCA 
องค์ประกอบที่จะต้องพิจารณาเมื่อนำแผนมาปฏิบัติงาน 
      Work shop 6 เขียนแผนโดยใช้PDCA 
กระบวนการ เฝ้าติดตาม และประเมินผลตาม PDCA 
กระบวนการกำหนดมาตรฐาน (Standardize) 
      Work shop 7 เขียนมาตรฐาน (Standardize) 
การทดสอบหลังการอบรม 
สรุป

ตัวอย่าง Work Shop / กรณีศึกษา

 รูปแบบต้นไม้ปัญหา(Tree problems) ด้วย ZOPP


รายละเอียดและเทคนิคที่อาจารย์ใช้ในการดำเนินการฝึกอบรม
   เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เข้าอบรมแบบ Trainee center และ Q&A พร้อมให้คำปรึกษา โดยใช้ข้อมูลจากหน้างาน (Real practice) วิทยากรทำหน้าที่ผู้ดำเนินรายการ (moderator)

รายละเอียดและเทคนิคที่อาจารย์ใช้ในการดำเนินการฝึกอบรม
   รูปแบบการฝึกอบรมโดยรวม เป็นการบรรยายและปฏิบัติการเขียน (Training by doing ) ด้วยการให้องค์ความรู้ (ทฤษฎี) แล้วทำ Workshop จาก Real Practiceแบบstep by step

กิจกรรม Service after trained ด้วย ICT
1. วิทยากรขอทราบความต้องการเบื้องต้นทางโทรศัพท์กับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหน้างานในหัวข้อที่อบรม เพื่อใช้ในการสัมภาษณ์เชิงลึก
2. เป็นสมาชิกกลุ่มเพื่อรับคำปรึกษาที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการอบรม ระยะเวลา 1 ปี 
3. วิทยากรจะติดตามผล ROI (Return on Investment) หลังการทำกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการอบรม โดยระบุการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นพร้อมรายงานผล ภายใต้เงื่อนไขดังนี้ 
      อบรม สัมมนา Free of charge ยกเว้น ค่าเดินทาง และค่าที่พัก (ถ้ามี) ขึ้นกับนโยบายขององค์กร
      อบรม สัมมนา ผู้รับการอบรม แจ้งความจำนงต่อวิทยากรทาง E-mail : seubsakul.s@gmail.com ภายใน 5 วันทำการหลังจากวันที่เข้าอบรม
      อบรม สัมมนา ผู้รับการอบรมส่งข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับหัวข้ออบรมโดยใช้ฟอร์มที่กำหนด
      อบรม สัมมนา กิจกรรมต่างๆต้องมีระยะเวลาไม่เกิน 8 เดือน
      อบรม สัมมนา จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขององค์กรหรือเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม