หลักสูตรฝึกอบรม ข้อกำหนดระบบการบริหารคุณภาพ IATF 16949:2016 - หลักสูตร 1 วัน
(IATF 16949:2016 Quality Management System Requirement)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม ข้อกำหนดระบบการบริหารคุณภาพ IATF 16949:2016 (IATF 16949:2016 Quality Management System Requirement)

ดร.พลกฤต โสลาพากุล

(วิทยากร โค้ช และที่ปรึกษาธุรกิจ)

 โปรไฟล์ของวิทยากร

ติดต่อสอบถาม
  084-164-2057 / 093-649-3561 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักสูตรใกล้เคียงที่อาจจะตรงโจทย์คุณ !!

หลักการและแนวความคิด
ระบบการบริหารงานคุณภาพ ISO 9001 มีประกาศใช้ฉบับใหม่เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2015 และข้อกำหนด ISO/TS 16949 ได้ประกาศบังคับใช้เมื่อ วันที่ 1 ตุลาคม 2016 เรียกว่า IAFT 16949:2016 โดยได้ปรับปรุงมาตรฐานทั้งในส่วนของหลักการพื้นฐาน และโครงสร้างมาตรฐาน รวมถึงข้อกำหนดไปจากเดิมมาก เพื่อให้มั่นใจว่าองค์กรที่ประยุกต์ใช้ ระบบบริหารคุณภาพจะสามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ในสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทวีคูณและ มีความซับซ้อนมากขึ้น และสามารถประสบความสำเร็จที่ยั่งยืน ดังนั้นผู้บริหารของทุกองค์กรที่ต้องจัดทำระบบบริหารคุณภาพ จึงต้องทำความเข้าใจถึงการเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานฉบับใหม่นี้ เพื่อสามารถที่จะวางแนวทางการปรับเปลี่ยนการบริหารภายในองค์กรให้สอดคล้องกับข้อกำหนดใหม่นี้ และเกิดประโยชน์กับองค์กรอย่างแท้จริง
สำหรับสถานประกอบการที่ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โดยส่วนใหญ่มีระบบบริหารคุณภาพ สองระบบคือ ISO 9001 และ ISO/TS 16949 ดังนั้น จะต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง เอกสารที่มีอยู่ให้เกิดการผสมผสาน ที่สามารถประยุกต์ได้ทั้งสองระบบ เพื่อให้การบริหารองค์กร และการผลิต เป็นไปอย่างมีประสิทธิผล


วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีทัศนคติที่ดีในการทำระบบ IATF 16949:2016
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมให้ความสำคัญกับการประยุกต์ระบบ IATF 16949 ให้มีประสิทธิภาพ
3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจหน้าที่ความรับผิดชอบในการทำงานของตนเองมากขึ้น


รายละเอียดเนื้อหาของหลักสูตร (Course Outline)
1. ISO/TS 16949 ฉบับใหม่ประกาศใช้ 1 ตุลาคม 2016 แล้ว และเปลี่ยนชื่อเป็น IATF 16949 สิ่งที่องค์กรต้องดำเนินการ ตามกรอบระยะเวลาที่ IATF กำหนด
 2. ประวัติความเป็นมาของการจัดทำมาตรฐาน ISO/TS 16949
         • บริบทขององค์กร (Context of Organization)
         • ความเข้าใจในบริบทองค์กร (Understanding the organization and its context)
         • ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Understanding the need and expectations)
         • กำหนดขอบเขตระบบการบริหารระบบคุณภาพ (Determine the scope of the QMS)
         • การบริหารระบบคุณภาพและกระบวนการ (Quality Management system and its process)
         • ภาวะผู้นำ (Leadership)
         • ภาวะผู้นำ และความมุ่งมั่น (Leadership and commitment)
         • นโยบายคุณภาพ (Quality Policy)
         • บทบาทองค์กร ความรับผิดชอบและอำนาจ (Organizational roles, responsibilities and authorities)
         • การวางแผนสำหรับระบบคุณภาพ (Planning for the quality management system)
         • การดำเนินการกับความเสี่ยงและโอกาส (Actions to Address Risks and Opportunities)
         • วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และแผนงานด้านคุณภาพ (Quality Objectives and Planning to Achieve Them)
         • การวางแผนในการเปลี่ยนแปลง (Planning of Changes)
         • การสนับสนุน (Support)
         • ทรัพยากร (Resources)
         • ความสามารถ (Competence)
         • ทัศนคติ Awareness
         • การสื่อสาร (Communication)
         • ข้อมูลเอกสาร (Documented Information)
         • การปฏิบัติ (Operation)
         • การวางแผน และการควบคุมตามแผนงาน (Operation Planning and Control)
         • การพิจารณาความต้องการของตลาด และการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า Determination of requirements for products and services
         • การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการ (Design and development of products and services)
         • การควบคุมการได้มาจากภายนอกของผลิตภัณฑ์และบริการ (Control of External Provision of Goods and Services)
         • การผลิตสินค้า และการจัดให้มีการบริการ (Production of Goods and Provision of Services)
         • การส่งมอบผลิตภัณฑ์ และบริการ (Release of products and services)
         • การควบคุมสิ่งที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด (Control of nonconforming)
         • การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance evaluation)
         • การเฝ้าติดตาม การวัด การวิเคราะห์ และการประเมิน (Monitoring, Measurement, Analysis and Evaluation)
         • การตรวจติดตามภายใน (Internal Audit)
         • การตรวจสอบการบริหารจัดการ (Management review)
         • การปรับปรุง (Improvement)
         • ความไม่สอดคล้อง และการแก้ไข (Nonconformity and Corrective Action)
         • การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual improvement)
         • สรุปการเรียนรู้


รูปแบบการการอบรม (Methodology)


        • การบรรยาย การสาธิต กิจกรรมการเรียนรู้ และ การอภิปรายกลุ่ม

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม