หลักสูตรฝึกอบรม บทบาทคณะกรรมการสวัสดิการเพื่อส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์เชิงบวก - หลักสูตร 1 วัน

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม บทบาทคณะกรรมการสวัสดิการเพื่อส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์เชิงบวก

อ. ชัญญชิตา ศรีชัย

(วิทยากรและที่ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญงานพัฒนาทรัพยากรมนุษย์)

 โปรไฟล์ของวิทยากร

ติดต่อสอบถาม
  093-649-3561 / 084-164-2057 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและแนวความคิด
    - คณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ เป็นผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการผลักดันให้มีการจัดสวัสดิการสำหรับพนักงานให้เป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด คณะกรรมการสวัสดิการฯ จึงเป็นส่วนสำคัญในการสนับสนุนและสร้างเสริมให้เกิดความเข้าใจกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง ลดช่องว่างและส่งเสริมแรงงานสัมพันธ์ในสถานประกอบการให้ดีขึ้น ผู้ที่ทำหน้าที่คณะกรรมการฯ ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในหลักการดำเนินงาน และบทบาทหน้าที่ของตนในฐานะคณะกรรมการสวัสดิการ ตาม พรบ. คุ้มครองแรงงานฯ จึงจะสามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์และมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้อบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ความหมาย หลักการ และแนวคิดเรื่อง คณะกรรมการสวัสดิการ เพื่อการจัดสวัสดิการภายในสถานประกอบการ
2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ
3. เพื่อให้ผู้อบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในการทำหน้าที่บทบาทคณะกรรมการสวัสดิการตาม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
1. ความหมายของคณะกรรมการสวัสดิการ
2. หลักทั่วไปในการกำหนดสวัสดิการแรงงาน
3. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสวัสดิการหรือคณะกรรมการ สวัสดิการของสถานประกอบการ
4. บาบาทและอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
5. บทบาทของนายจ้างต่อคณะกรรมการความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ
6. หน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมายของนายจ้างต่อคณะกรรมการสวัสดิการ ในสถานประกอบกิจการ
7. แนวทางการดำเนินงานของนายจ้างที่พึงมีต่อคณะกรรมการ สวัสดิการฯ
8. ประโยชน์ของคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบการ
9. แนวทางการการทำงานของคณะกรรมการสวัสดิการเพื่อสร้างเสริมแรงงานสัมพันธ์ที่ดีในสถานประกอบการ
10. สรุปการเรียนรู้

ระยะเวลาการฝึกอบรม (Time)
• 9.00-16.00 น.

รูปแบบการการอบรม (Methodology)
    - บรรยายพร้อมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมผ่านกิจกรรม Workshop ต่างๆ เช่น Brain storming, Game, Role play and presentation, Clip Video Learning เพื่อสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน โดยใช้แนวทางการโค้ชและการเรียนรู้แบบมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียน เพื่อฝึกการคิด การระดมสมอง การลองปฏิบัติ อันจะนำไปสู่การเข้าใจองค์ความรู้แบบเข้าใจด้วยตนเองและนำไปประยุกต์ได้ สัดส่วนการบรรยายและฝึกปฏิบัติ 60:40

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม