หลักสูตรฝึกอบรม สร้างคุณค่าความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity) สู่ความสำเร็จ - หลักสูตร 1 วัน

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / Advance Softskill / หลักสูตรฝึกอบรม สร้างคุณค่าความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity) สู่ความสำเร็จ

หลักสูตรสถาบันหมวด Advance Softskill

สอนโดยวิทยากรที่ได้การรับรองจากสถาบัน

 วิทยากรที่สอนหลักสูตรนี้ได้

ติดต่อสอบถาม
  084-164-2057 / 093-649-3561 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและเหตุผล
คุณค่าความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity) ทำให้เกิดพฤติกรรมในการตั้ง “คำถาม?” ทั้งกับตัวเอง เหตุการณ์ และสังคม เพื่อให้ได้มากซึ่ง “คำตอบที่มีเหตุและผล” พร้อมข้อมูลและข้อเท็จจริงอ้างอิงได้ โดยมักเป็นบุคคลที่ใช้ “ความคิด (Thinking)” มากกว่า “ความรู้สึก (Feeling)” และไม่ยึดติดกับความเชื่อเดิมๆ ที่เคยปฏิบัติกันมา แต่จะพิสูจน์ด้วยการเรียนรู้และลงมือปฏิบัติด้วยตัวเอง

ศัตรูที่เป็นอุปสรรคต่อความสงสัยใคร่รู้ของบุคคล เช่น......
  การเชื่อสิ่งที่บอกต่อๆกันมาโดยไม่มีข้อมูลรองรับ (Traditional)
  การยึดติดกับความสำเร็จในอดีต (Best Practice) ในขณะที่โลกเปลี่ยนแปลงไปแล้ว
  ความเชื่อมั่นในตัวเอง (ego) โดยเอาเหตุผล
  ความกลัวในการค้นหาความจริงในสิ่งที่ตัวเองสงสัย (Curiosity)

การพัฒนาความคิด (Thinking) ประเภทต่างๆ ให้เป็นบุคคลสงสัยใคร่รู้ เช่น......
  การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ค้นหาความจริง
  การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) แยกแยะประเด็นต่างๆ
  การคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) สร้างแนวคิดใหม่ๆ

เทคนิคในการสร้างพฤติกรรมความสงสัยใคร่รู้ เช่น......
  การใช้คำถามตั้งประเด็นที่สงสัย (Curiosity Question)
  การรับฟังเชิงลึก (Deep Listening)
  การสร้างความเข้าใจอย่างตรงไปตรงมา (Clarifying Feedback)


วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้คุณสมบัติของบุคคลที่มีความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity) แล้วนำไปพัฒนาตัวเองเพิ่มเติมได้ด้วยตัวเอง
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจศัตรูที่เป็นอุปสรรคหยุดความสงสัยของมนุษย์ แล้วปรับเปลี่ยนตัวเองให้สามารถเอาชนะข้อจำกัดดังกล่าวได้ด้วยตัวเอง
เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาการคิดประเภทต่างๆ บ่มเพาะคุณค่าความสงสัยใคร่รู้ในตัวเองกับเหตุการณ์ต่างๆ จนกลายเป็นธรรมชาติใหม่
เพื่อให้ผู้เรียนได้วิเคราะห์กรณีศึกษาและเรียนรู้จากหนังสือ เกิดความเข้าใจในพฤติกรรมของคนสงสัยใคร่รู้ได้อย่างชัดเจนมากขึ้น

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
สิ่งที่องค์กรคาดหวังจากผู้เรียนในหลักสูตรนี้
หลักการและแนวความคิดเรื่องความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity)
       นิยาม ความหมายของความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity)
       คุณสมบัติของบุคคลสงสัยใคร่รู้
       Curiosity for Learning V. S. Curiosity for Knowing
       Empathy V.S. Sympathy
       Workshop : กำหนดคุณค่า ความสงสัยใคร่รู้ ของตัวเอง
การพัฒนาคุณค่าความสงสัยใคร่รู้ (Curiosity) ในตัวเอง
       กรอบความคิดความสงสัยใคร่รู้
       ศัตรูที่เป็นอุปสรรคต่อความสงสัยใคร่รู้
       เทคนิคการจัดการศัตรูที่เป็นอุปสรรคในตัวเอง
       การเรียนรู้ผ่านหนังสือ : ใครเอาเนยแข็งของฉันไป (Who move my cheese)
       Wrap Up : แลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกัน
การพัฒนาทักษะคุณลักษณะการเป็นบุคคลสงสัยใคร่รู้
       การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) ค้นหาความจริง
       การคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking) แยกแยะประเด็น
       การคิดนอกกรอบ (Lateral Thinking) เอาชนะข้อสงสัย
       การคิดแยกแยะ (Divergent Thinking) และเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน (Convergent Thinking)
       กรณีศึกษา : ตัวอย่างบริษัทที่ทำสินค้าราคาต่ำกว่าคู่แข่งด้วยคุณสมบัติเทียบเท่า
เทคนิคการสร้างพฤติกรรมความสงสัยใคร่รู้
      เทคนิคการใช้คำถามแบบสงสัยใคร่รู้ (Curiosity Question)
       เทคนิคการฟังอย่างลึกซึ้ง (Deep Listening)
       เทคนิคการสร้างความเข้าใจ (Clarifying Feedback)
       การเรียนรู้ผ่านหนังสือ : ออกจากเขาวงกตได้แล้ว (Out of the Mage)
       Role Playing : การฝึกฝนเทคนิคต่างๆ ด้วยตัวเอง
การบ้าน : เพื่อการนำไปฝึกฝนและปฏิบัติจริง


กรอบความคิดหลักสูตร (Course Framework)



ผู้ที่เหมาะสมกับหลักสูตรนี้
 พนักงานระดับปฏิบัติการ
หัวหน้างาน
ผู้จัดการ


 

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม

วิทยากรที่ ได้การรับรองจากสถาบัน สามารถสอนหลักสูตรหมวดนี้ได้

อ. ปกรณ์ วงศ์รัตนพิบูลย์

Executive Coach Leadership and Strategic Development Consultant

อ. วีรพันธ์ เกษสังข์

Strategic and Management Coaching & Consulting / Professional Trainer

รศ.ดร.ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร

กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

อ. เอกกร บุญธนะสิน

NLP โค้ช และ เทรนเนอร์

อ. กัณตพงษ์ วงศ์รัตนพิบูลย์

Sale and Marketing Coaching & Consulting / Professional Trainer วิทยากรประจำสถาบันเอ็นเทรนนิ่ง

อ. ณัฏฐา วงศ์รัตนพิบูลย์

Coach , ที่ปรึกษา และ วิทยากร ประจำสถาบัน เอ็นเทรนนิ่ง กลุ่มธุรกิจการฝึกอบรมและที่ปรึกษา

อ. ชวน ทองไทยสิน

วิทยากรสถาบันฝึกอบรมเอ็นเทรนนิ่ง

อ. ณัฐพงษ์ สิริกอบกุล

วิทยากรอิสระ ด้านการพัฒนาองค์การ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาผู้นำ

ดร.วันทนา ปทุมอนันต์

ผู้เชี่ยวชาญด้าน จิตวิทยาการพัฒนาศักยภาพมนุษย์และองค์กร

นสพ.กฤดากร คเชนทร์ชัย

โค้ชและวิทยากรด้าน Future skill and Neuromarketing

อ. เบญจภา พลอยเลื่อมแสง

ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการ การบริหารความเสี่ยงด้านประกันภัยและการวางแผนการเงิน

ดร.สุมลา พรหมมา

วิทยากรฝึกอบรม สัมมนา / พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

อ. ชลิภา ชัยยะกุลภา

ผู้บริหารและที่ปรึกษาด้านการบริหารองค์กร

อ. กนกวรรณ นิลมาลา

วิทยากรสถาบันเอ็นเทรนนิ่ง