หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย-JST - หลักสูตร 1 วัน
(JOB SAFETY ANALYSIS)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย-JST (JOB SAFETY ANALYSIS)

อ. วินัย ดวงใจ

(กรรมการบริหารสมาคมเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน จังหวัดสมุทรปราการ)

 โปรไฟล์ของวิทยากร

ติดต่อสอบถาม
  093-649-3561 / 084-164-2057 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและแนวความคิด
การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย เป็นวิธีการค้นหาสภาพอันตรายที่มีอยู่ในแต่ละขั้นตอนของการทำงาน และ กำหนดมาตรป้องกันเหมาะสมที่จะใช้วิเคราะห์งานที่เกิดอุบัติเหตุบ่อย ๆ หรือรุนแรง และมีขั้นตอนทำงานที่ยุ่งยาก
ดังนั้นในหลักสูตรนี้ จึงเน้นสร้างความเข้าใจให้สอดคล้องกับหลักการทั้งหมด เพื่อเพิ่มความรู้ความเข้าใจ อย่างเฉพาะเจาะจงให้กับหัวหน้างาน ผู้จัดการเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในกาทำงานระดับวิชาชีพ และผู้ที่เกี่ยวข้องในการกำหนด และปฏิบัติตามมาตรฐานการทำงานอย่างปลอดภัย

วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจขั้นตอนการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เข้าใจขึ้นเกี่ยวกับงาน อันตราย และวิธีปฏิบัติที่ปลอดภัย
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำไปกำหนดมาตรการป้องกันอันตรายในการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยมากขึ้น
4. ทำให้มีแนวคิดในการปรับปรุงสภาพการทำงาน วิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยมากขึ้น เพื่อลดการสูญเสียจากอุบัติเหตุ และเพิ่มผลผลิตให้แก่องค์กร

หัวข้อการบรรยาย
หลักในการทำงานให้อุบัติเหตุเป็นศูนย์ (ZERO ACCIDENT)
ความหมายและคำจำจัดความด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย Incident , Near miss , Accident
ความสูญเสียและผลกระทบจากอุบัติเหตุ (Accident)
สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุ และผลกระทบที่เกิดขึ้น
การค้นหาอันตราย และการหาแนวทางการป้องกันแก้ไข ปรับปรุง
การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย (JSA)
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
ขั้นตอนและวิธีการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ว่ามีกิจกรรมใดบ้าง ? และจะต้องปฏิบัติอย่างไร ?
หลักการแก้ไขปัญหาขจัดหรือลดอันตราย 3 ทาง
บันได 4 ขั้น ของ JSA
เลือกงาน (Select) ที่จะทำการวิเคราะห์
แตกงาน (Step) ที่จะวิเคราะห์เป็นลำดับขั้นตอน
ค้นหาอันตราย (Identify) ที่แฝงอยู่ในแต่ละขั้นตอน
พัฒนา (Develop) เพื่อหามาตรการในการแก้ไขปัญหา
มาตรฐานวิธีการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย (Safety Standard Operation Procedure : SSOP)
ประกอบด้วย 3 ส่วนสำคัญ คือ
     อบรม สัมมนา ก่อนปฏิบัติงาน
     อบรม สัมมนา ขณะปฏิบัติ
     อบรม สัมมนา หลังปฏิบัติงาน
Workshop : กิจกรรมกลุ่มย่อย

รูปแบบการการอบรม
บรรยาย 40 % Workshop 60 %

กลุ่มผู้เข้าอบรม
พนักงาน หัวหน้างาน และผู้บริหาร

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม