หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการสร้างความร่วมมือในการทำงานข้ามสายงาน - หลักสูตร 1 วัน
(Cross-Functional Collaboration Technique)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / Advance Softskill / หลักสูตรฝึกอบรม เทคนิคการสร้างความร่วมมือในการทำงานข้ามสายงาน (Cross-Functional Collaboration Technique)

หลักสูตรสถาบันหมวด Advance Softskill

สอนโดยวิทยากรที่ได้การรับรองจากสถาบัน

 วิทยากรที่สอนหลักสูตรนี้ได้

ติดต่อสอบถาม
  093-649-3561 / 084-164-2057 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและเหตุผล
หลักการทำงานข้ามสายงานที่มีคุณภาพ (Effective Cross-Functional) เป็นการสร้างความร่วมมือในการทำงานแบบเป็นทีม (Team Collaboration) โดยการปรับเปลี่ยนกรอบความคิดให้เข้าใจ ความขัดแย้งเป็นเพียงความแตกต่าง สามารถนำไปสู่ความร่วมมือได้อย่างมีประสิทธิผลด้วยการสร้าง Growth Mindset ในการทำงาน
การพัฒนาทักษะการสร้างความร่วมมือกับผู้อื่น (Collaboration Skill) จะทำให้เสริมการทำงานร่วมกันในแต่ละสายงานได้เป็นอย่างดี เพราะทุกฝ่ายให้ความสำคัญกับเป้าหมายร่วมกันโดยใช้ทักษะเหล่านี้...
      - การเป็นผู้ฟังเชิงลึกที่ดี (Listening)
      - การเข้าใจและให้กำลังใจซึ่งกันและกัน (Communication)
      - การสร้างความฉลาดทางด้านอารมณ์ (EQ)
      - การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม (Team Learning)
      - การคิดวิเคราะห์ไตร่ตรอง (Cognitive)
การประยุกต์ใช้หมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats) ในการทำงานข้ามสายงานให้เกิดเป็นทีมที่ช่วยกันแก้ปัญหา โดยใช้ความสามารถของแต่ละฝ่ายงานมาเสริมซึ่งกันและกัน เพราะหมวกเปรียบเสมือนจุดเด่นของแต่ละบทบาท หากสามารถเลือกใช้หมวกได้อย่างเหมาะสมก็จะทำให้ได้ Solution ที่นำไปสู่นวัตกรรมใหม่ๆในการบรรลุเป้าหมาย


วัตถุประสงค์
 เพื่อทำให้ผู้เรียนได้เข้าใจหลักการทำงานข้ามสายงานที่ดี มีแนวทางในการสร้างความร่วมมือซึ่งกันและกัน สามารถนำไปใช้กับการปฏิบัติงานของตัวเองได้ทันที
เพื่อทำให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการสร้างความร่วมมือ และฝึกฝนปฏิบัติจริงจนเกิดความเข้าใจและนำไปใช้กับสถานการณ์จริงของตัวเองได้อย่างมั่นใจ
เพื่อทำให้ผู้เรียนสามารถใช้กิจกรรมหมวก 6 ใบ ในการระดมสมองข้ามสายงานร่วมกัน ใช้จุดเด่นของหมวกแต่ละใบที่เสมือนหนึ่งเป็นบทบาทของแต่ละหน่วยงาน สร้างแนวทางแก้ปัญหาร่วมกัน
เพื่อทำให้ผู้เรียนพัฒนา Growth Mindset ของตัวเองสู่การทำงานร่วมกับผู้อื่นให้เกิดผลลัพธ์เชิงนวัตกรรมร่วมกัน

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
 หลักการทำงานข้ามสายงานให้เกิดความร่วมมือ (Cross-Functional Collaboration)
        สนุกกับ “คำสำคัญ (Keyword)” สร้างแนวความคิด
        การสร้างกรอบความคิดความร่วมมือ (Collaboration Mindset)
        ความหมายของการทำงานข้ามสายงานที่ดี (Cross-Functional)
        ประเด็นสำคัญที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
        การปรับเปลี่ยนความขัดแย้งสู่ความร่วมมือ
        Workshop : กำหนดแนวทางปฏิบัติติงานด้วยความร่วมมือ
การพัฒนาทักษะการสร้างความร่วมมือกับผู้อื่น (Collaboration Skill)
        การเป็นผู้ฟังเชิงลึกที่ดี (Active & Deep Listening)
        การเข้าใจและกระตุ้นให้กำลังใจ (Empathy & Sympathy)
        การจัดการอารมณ์อย่างชาญฉลาด (Emotional Intelligence)
        การทำงานแบบเรียนรู้ร่วมกัน (Team Learning)
        การคิดวิเคราะห์ไตร่ตรอง (Cognitive)
        Roleplaying : การฝึกฝนทักษะซึ่งกันและกัน
การทำงานข้ามสายงานด้วยหมวก 6 ใบ (Cross-Functional With Six Thinking Hats)
        อิทธิพลที่เกิดจากการใส่หมวกในขณะใดขณะหนึ่ง
        ทิศทางของหมวกมีความสัมพันธ์กับการทำงาน
        ประเด็นสำคัญที่หมวกสร้างให้เกิดขึ้นเพื่อการตัดสินใจ
        กิจกรรม : การใช้หมวกสื่อสารกันในกลุ่ม
        กิจกรรม : การใช้หมวกระดมความคิดเห็นร่วมกัน
การทำงานข้ามสายงานด้วย Growth Mindset สร้างความร่วมมือ
        Fixed Mindset V.S. Growth Mindset
        การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)
        การแก้ปัญหาร่วมกัน Solution Thinking
        ประโยชน์ของการสร้างความร่วมมือในการทำงาน
        Workshop : ออกแบบแนวทางการทำงานข้ามสายงานของตัวเอง
การบ้าน : เพื่อการนำไปฝึกฝนและปฏิบัติจริง

กรอบความคิดหลักสูตร (Course Framework)


ผู้ที่เหมาะสมกับหลักสูตรนี้
 พนักงานระดับปฏิบัติการ
หัวหน้างาน
ผู้จัดการ

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม

วิทยากรที่ ได้การรับรองจากสถาบัน สามารถสอนหลักสูตรหมวดนี้ได้

อ. ปกรณ์ วงศ์รัตนพิบูลย์

Executive Coach Leadership and Strategic Development Consultant

อ. วีรพันธ์ เกษสังข์

Strategic and Management Coaching & Consulting / Professional Trainer

รศ.ดร.ธัชพงศ์ เศรษฐบุตร

กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

อ. เอกกร บุญธนะสิน

NLP โค้ช และ เทรนเนอร์

อ. กัณตพงษ์ วงศ์รัตนพิบูลย์

Sale and Marketing Coaching & Consulting / Professional Trainer วิทยากรประจำสถาบันเอ็นเทรนนิ่ง

อ. ณัฏฐา วงศ์รัตนพิบูลย์

Coach , ที่ปรึกษา และ วิทยากร ประจำสถาบัน เอ็นเทรนนิ่ง กลุ่มธุรกิจการฝึกอบรมและที่ปรึกษา

อ. ชวน ทองไทยสิน

วิทยากรสถาบันฝึกอบรมเอ็นเทรนนิ่ง

อ. ณัฐพงษ์ สิริกอบกุล

วิทยากรอิสระ ด้านการพัฒนาองค์การ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลและการพัฒนาผู้นำ

ดร.วันทนา ปทุมอนันต์

ผู้เชี่ยวชาญด้าน จิตวิทยาการพัฒนาศักยภาพมนุษย์และองค์กร

นสพ.กฤดากร คเชนทร์ชัย

โค้ชและวิทยากรด้าน Future skill and Neuromarketing

อ. เบญจภา พลอยเลื่อมแสง

ที่ปรึกษาด้านสวัสดิการ การบริหารความเสี่ยงด้านประกันภัยและการวางแผนการเงิน

ดร.สุมลา พรหมมา

วิทยากรฝึกอบรม สัมมนา / พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

อ. ชลิภา ชัยยะกุลภา

ผู้บริหารและที่ปรึกษาด้านการบริหารองค์กร

อ. กนกวรรณ นิลมาลา

วิทยากรสถาบันเอ็นเทรนนิ่ง