หลักสูตรฝึกอบรม ความรู้พื้นฐานสำหรับพนักงานอะไหล่ - หลักสูตร 1 วัน
(Basic knowledge for spare parts staffs)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม ความรู้พื้นฐานสำหรับพนักงานอะไหล่ (Basic knowledge for spare parts staffs)

อ. ธนภณ รวยอารี

(วิทยากร, ที่ปรึกษา, โค้ช)

 โปรไฟล์ของวิทยากร

ติดต่อสอบถาม
  084-164-2057 / 093-649-3561 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักสูตรใกล้เคียงที่อาจจะตรงโจทย์คุณ !!

"ความรู้ และทักษะ สำหรับพนักงานอะไหล่ เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพ"

หลักการและเหตุผล
การทำงานในแผนกอะไหล่ พนักงานควรมีความรู้พื้นฐานในด้านส่วนประกอบของเครื่องยนต์ หรือสินค้า และระบบ ระเบียบในการทำงานที่ถูกต้อง เหมาะสม เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความราบรื่น สามารถช่วยเหลือแผนกบริการ และการทำงานของแผนกอื่น ๆ ได้ดี 
พนักงานอะไหล่ มีส่วนเกี่ยวข้องกับงาน บริหารสินค้าคงคลัง และคลังสินค้า ดังนั้น พนักงานอะไหล่ต้องมีความรู้ในการดูแลสินค้าคงคลัง และงานคลังสินค้าได้อย่างเหมาะสม
สามารถสร้างความพึงใจให้กับลูกค้า ทั้งลูกค้า เพื่อทำให้องค์กรมีความมั่นคง และสามารถเติบโตขึ้นได้ในอนาคต

วัตถุประสงค์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในการทำงานด้านอะไหล่
เพื่อเสริม ความรู้ และทักษะ เพื่อการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อเสริม ความรู้ เรื่องชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ที่สำคัญ
เพื่อให้เข้าใจในระบบ ระเบียบ ในการทำงาน 
เพื่อให้สามารถสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า 

รายละเอียดของหลักสูตรฝึกอบรม
    ความสำคัญของงานอะไหล่ สินค้าคงคลัง และคลังสินค้า
    เป้าหมายของงานอะไหล่ สินค้าคงคลัง และคลังสินค้า
    ข้อมูลพื้นฐานในการทำงาน 
    ส่วนประกอบที่สำคัญของรถยนต์ / สินค้าที่เกี่ยวข้อง
    ประเภทของสินค้าคงคลัง
    หลักเกณฑ์การจัดเก็บสินค้าคลัง 
    ขั้นตอนในการทำงาน การบริหารสินค้าคงคลัง และคลังสินค้า
    สถานที่จัดเก็บ ภายในคลังสินค้า
    คุณสมบัติที่พนักงานอะไหล่ควรจะมี



ผู้ที่เหมาะสมกับหลักสูตรนี้
พนักงานแผนกอะไหล่ 
พนักงานที่เกี่ยวข้อง ในการทำงานด้านบริการ    
พนักงานทั่วไป ที่เกี่ยวข้องในการทำงาน บริหารสินค้าคงคลัง และคลังสินค้า

แนวทาง และเทคนิคในการดำเนินการฝึกอบรม
 การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult Learning) เรียนรู้เพื่อการนำไปใช้ได้จริง
การละลายพฤติกรรม (Ice Breaking) เพื่อการเข้าถึงความรู้ และการสื่อสารภายในห้องอบรม
การสอน (Teaching) เพื่อการเรียนรู้หลักการและเหตุผล ด้านวิชาการ
กิจกรรมกลุ่ม (Work Shop) เพื่อการเรียนรู้การทำงานเป็นทีม และแลกเปลี่ยนความคิดของผู้เข้าอบรม
กระบวนการโค้ช (Coaching Process) เพื่อค้นหาความต้องการของผู้เข้าอบรม
การสรุป และประเมินผล (Conclusion and Evaluation) เพื่อการวัดผลการฝึกอบรม และพัฒนาในอนาคต

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม