หลักสูตรฝึกอบรม JIDOKA เทคนิคป้องกันความผิดพลาดและความสูญเสียในการผลิต - หลักสูตร 1 วัน
(JIDOKA Technique)

หน้าแรก / รวมหลักสูตรฝึกอบรม / หมวดทั่วไป (Other) / หลักสูตรฝึกอบรม JIDOKA เทคนิคป้องกันความผิดพลาดและความสูญเสียในการผลิต (JIDOKA Technique)

ติดต่อสอบถาม
  084-164-2057 / 093-649-3561 (HOTLINE)
  asst.entraining@gmail.com, cocoachentraining@gmail.com

หลักการและแนวความคิด
      ข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงานทั่วไปย่อมเกิดได้กับผู้ปฏิบัติงานทุกคนในองค์การ เช่น ผิดพลาดจากการหลงลืมหรือจําไม่ได้จึงจําเป็นต้องใช้สื่อช่วยเข้าเตือนความจํา อาทิ แผ่นป้าย ข้อความ ซึ่งอาจจะไม่มีผลอันถาวรในการช่วยเตือนในการปฏิบัติงานทุกครั้ง แต่สําหรับกระบวนการผลิตแล้วชิ้นงานบกพร่องหรืองานที่มีคุณภาพไม่สม่ำเสมอมักมีสาเหตุจากวิธีการทํางาน เช่น เมื่อมีการสับเปลี่ยนกะทํางานที่อาจมีแรงงานที่ขาดทักษะ ซึ่งการจะแก้ปัญหาความบกพร่องที่เกิดขึ้นจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทํางานให้มีลักษณะที่ง่ายขึ้น
      ระบบการผลิตของญี่ปุ่นในการป้องกันข้อผิดพลาดในการผลิตระบบอัตโนมัติที่จะหยุดการผลิตทันที เมื่อมีความไม่ปกติเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้แก้ไขก่อนจะเดินหน้าผลิตต่อเพื่อลดความผิดพลาดและความสูญเสียจากกระบวนการผลิตส่งไปยังลูกค้าทั้งในและภายนอกได้

วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ตระหนักและเข้าใจถึงการป้องกันความผิดพลาดโดยมิได้ตั้งใจ JIDOKA
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้เข้าใจถึงแนวความคิด วิธีการและเทคนิคการดำเนินการของ JIDOKA
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้เรื่อง JIDOKA มาประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้ทราบถึงแนวทางและขั้นตอนในการปรับปรุงงานเพื่อลดความผิดพลาดอย่างต่อเนื่อง
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้พัฒนาและแก้ไขปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างถูกวิธีและทราบถึงอุปสรรคและแนวทางแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง

รายละเอียดเนื้อหาของหลักสูตร (Course Outline)
การผลิต คืออะไร
ความหมายและแนวทางการระบุคุณค่า (Values)
ความหมายและแนวทางการระบุความสูญเปล่า 7 ประการ (7 Wastes)
อะไรทำให้เกิดของเสีย
JIDOKA คืออะไร
ประโยชน์ของระบบ JIDOKA
หลักการแห่ง JIDOKA
5 เทคนิคใช้ JIDOKA หยุดของเสีย
เครื่องมือในการใช้ร่วมกับ JIDOKA
     - ระบบ Visual control
     - ระบบ Poka Yoke
     - ระบบ Kaizen
การแก้ไขปัญหาแผนภูมิก้างปลา (Fish bond) และ Why-Why Analysis
ถาม-ตอบ

รูปแบบการฝึกอบรม
 การบรรยาย 40 %
เกม / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop และการนำเสนอผลงานกลุ่ม 60%

ออกแบบการเรียนรู้อย่างครบวงจร (6 Step Learning Model) ได้ตามต้องการ
(Blended learning)

Step 1 : การจัดทำวิดีโอออนไลน์ Micro Learning

การเรียนรู้ VDO ด้วยระบบ Learning Management Platform (LMP)

  รับชม

Step 2 : การดำเนินการสอนด้วย Classroom / Virtual Classroom

การเรียนรู้ภายใน Classroom ด้วยบวนการ Adult learning

  รับชม

Step 3 : การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

การให้คำปรึกษาแบบกลุ่มย่อย Group Coaching & Clinic

  รับชม

Step 4 : การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1 on 1 Coaching & Mentor

การพูดคุยเชิงลึกด้วย 1:1 Coaching & Mentor

  รับชม

Step 5 : การนำเสนอโครงการปฏิบัติงานจริง (Project Assignment)

การนำเสนอโครงการเพื่อนำไปปฏิบัติในสถานการณ์จริง

  รับชม

Step 6 : การติดตามผลลัพธ์การเรียนรู้ (Follow Up)

การนำความรู้สู่การปฏิบัติที่ชัดเจน และการสรุปผลลัพธ์ของการฝึกอบรม

  รับชม