โดยทีมงานเอ็นเทรนนิ่ง 7 มิถุนายน 2562 7,602 0
หน้าแรก / ห้องสมุดเอ็นเทรนนิ่ง / บทความหมวด การพัฒนาตนเอง / การออกแบบระบบ Systems Design
21 มิ.ย. 2562 อ่าน 2,957 หมวด การพัฒนาตนเอง
21 มิ.ย. 2562 อ่าน 1,870 หมวด การพัฒนาตนเอง
28 มิ.ย. 2562 อ่าน 2,351 หมวด การพัฒนาตนเอง
28 มิ.ย. 2562 อ่าน 2,112 หมวด การพัฒนาตนเอง
5 ก.ค. 2562 อ่าน 10,916 หมวด การพัฒนาตนเอง
5 ก.ค. 2562 อ่าน 4,766 หมวด การพัฒนาตนเอง
เมื่อย้อนกลับไปดูเรื่องการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นกรณีที่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” มากกว่า “ค่ามาตรฐาน (Standard)” ดังแสดงในรูปที่ 3.1
มาใช้ได้อีกต่อไป เพราะมันไม่เพียงพอที่จะนำเราไปสู่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” โดยเราจำเป็นที่จะต้องคิดค้นหาวิธีการใหม่ ๆ เพื่อให้ไปสู่ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” โดย การใช้วิธีการออกแบบระบบ (Systems Design)
การออกแบบระบบ (Systems Design) ถ้าเราเชื่อมโยงแผนภาพความคิดเชิงระบบในแบบวงจรสมดุล (Balancing Loop) เข้ากับปัญหาในรูปแบบกรณีที่ 1 ก็จะได้วงจรสมดุลที่ระบบพยายามปรับตัวเองเข้าสู่เป้าหมายที่ต้องการ ดังแสดงในรูปที่ 3.2
ดังนั้นหลักสำคัญที่จะบรรลุสิ่งที่ต้องการ (Target) ที่เราไม่เคยทำได้มาก่อน เราจะต้องทำการออกแบบระบบ (Systems Design) เพื่อคิดค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ที่เราเรียกว่า “Initiatives” โดยใช้แนวคิดพื้นฐาน “Input-Process-Output” ที่จะต้องไปตอบโจทย์วัตถุประสงค์ (Objectives) ที่เราต้องการดังแสดงในรูปที่ 3.3
โดยในหลักการคิดที่สำคัญจะต้องเริ่มคิดที่วัตถุประสงค์ (Objectives) เป็นสำคัญ คือ เริ่มต้นที่ภาพในใจที่ชัดเจน (Begin with the end in mind) ยกตัวอย่างเช่น ผู้เขียนมีเป้าหมายในใจ มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนอยากเป็น “วิทยากรมืออาชีพ” ก็ต้องมาตั้งคำถามกับตัวเองว่าคำว่าเป็นมืออาชีพ คือ อะไร หน้าตาหรือผลลัพธ์ (Output) ที่เราต้องการเห็นคืออะไร แล้วจะใช้อะไรเป็นตัวชี้วัด (Indicator) จากนั้นก็ต้องคิดย้อนต่อไปอีกว่าแล้วจะต้องมีกระบวนการ (Process) อะไรบ้าง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ สุดท้ายก็ต้องคิดย้อนต่อไปว่าเราต้องมีปัจจัยนำเข้า (Input) อะไรบ้าง เพื่อให้กระบวนการสามารถดำเนินงานได้อย่างราบรื่น ดังแสดงในรูปที่ 3.4
จากแผนผังแสดงความเชื่อมโยง Objectives – Output – Process – Input หากเรามีความเข้าใจในแนวคิดดังกล่าว เราก็จะสามารถเข้าใจรูปแบบความคิดในทางธุรกิจ อย่างเช่น ในเรื่อง Balance Scorecard ที่จะมีรูปแบบความคิดในทำนองเดียวกัน
ในปัจจุบันก็มีหลายคนนิยมนำแนวคิด Business Model Canvas มาใช้ในการคิดในการเริ่มต้นแผนธุรกิจใหม่ๆ ดังแสดงในรูปที่ 3.5
แต่ในท้ายที่สุดไม่ว่าจะใช้รูปแบบการคิดในแบบใดก็ตามก็ต้องหาออกมาให้ได้ว่ามีวิธีการใหม่ ๆ ที่เราเรียกว่า “Initiatives” ที่จะสามารถทำให้บรรลุ “สิ่งที่ต้องการ (Target)” ได้หรือไม่?
21 มิ.ย. 2562 อ่าน 2,957 หมวด การพัฒนาตนเอง
21 มิ.ย. 2562 อ่าน 1,870 หมวด การพัฒนาตนเอง
28 มิ.ย. 2562 อ่าน 2,351 หมวด การพัฒนาตนเอง
28 มิ.ย. 2562 อ่าน 2,112 หมวด การพัฒนาตนเอง
5 ก.ค. 2562 อ่าน 10,916 หมวด การพัฒนาตนเอง
5 ก.ค. 2562 อ่าน 4,766 หมวด การพัฒนาตนเอง
หมวด หลักสูตรเฉพาะวิทยากร (Other) อ่าน 4,514
หมวด หลักสูตรเฉพาะวิทยากร (Other) อ่าน 4,415
หมวด หลักสูตรเฉพาะวิทยากร (Other) อ่าน 4,053
หมวด Thinking อ่าน 3,128
หมวด Advance Management and Productivity อ่าน 850
หมวด Thinking อ่าน 5,895
หมวด Advance Thinking อ่าน 3,260